โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายส่วนบุคคนก่อนเริ่มใช้งาน [นโยบายส่วนบุคคล]
ยอมรับ
8 วิธีที่ได้ผล - อ่านหนังสือก่อนสอบอย่างไรให้จำได้แม่น (พุ้งนี้สอบแว้ว)
อะไรเนื่ย_อะไรกัน
#1
อะไรเนื่ย_อะไรกัน
25-09-2011 - 22:13:46

#1 อะไรเนื่ย_อะไรกัน  [ 25-09-2011 - 22:13:46 ]






Reading a lot these days? Having trouble remembering and recalling? For many, reading is a passive activity. And, as with many passive activities, it's challenging for the brain and the body to absorb and assimilate information.

On the other hand, the more actively engaged and involved you are with your material, the greater the likelihood you will be able to remember and recall information. The name of the game is planting information into your memory web in such a way that you can harvest it later on. So, here are eight strategies you can use in the planting process.

ลองถามตัวเองว่าเป็นคนอ่านหนังสือเยอะมั๊ย ? มีปัญหาในการจำสิ่งที่เคยอ่านไปแล้วหรือป่าว เราไม่ได้เคลื่อนไหวอะไรมาก ในการอ่าน แต่เป็นการท้าท่ายร่างกายและสมอง ในการซึมซับข้อมูล

ในทางตรงกันข้าม ยิ่งถ้าเราเอาใจใส่กับสิ่งที่เราอ่านมากเท่าไหร่ เราก็ยิ่งมีความเป็นไปได้ที่จะสามารถกลับมาฟื้นฟูเนื้อหาข้อมูลที่เราอ่านไปแล้วได้มากเท่านั้น ก็เหมือนกับน้องเล่นเกมส์ที่หว่านเมล็ดอะไรลงไป แล้วเราสามารถมากลับมาเก็บเกี่ยวภายหลัง และสิ่งนี้เป็น 8 กลวิธีเด็ดๆ ที่น้องๆ สามารถปลูกฝังและนำไปใช้

1. Initially, it's important to explore your self-images and beliefs around past experiences with reading. The short of it is if one believes and has images of oneself as "never being able to get it," "reading is hard," "I've never been a good reader" "I can never remember what I read," etc., this is the place to start.

สิ่งสำคัญในการเริ่มต้น คือการสำรวจตนเอง จากความเชื่อมั่นในประสบการณ์การอ่านที่ผ่านมา ถ้าเรามีความเชื่อเล็กๆ หรือมีจินตนาการไปก่อนว่า "เราจะอ่านไม่เข้าใจ.. การอ่านเป็นสิ่งที่ยาก.. เราไม่สามารถเป็นนักอ่านที่ดีได้แน่! จำไม่ได้แน่! เป็นต้น..:ซึ่งน้องๆ ต้องเริ่มจากตรงนี้นะคะ

All the tools and techniques probably won't work if one believes one could not or cannot "successfully master reading." Or, one will begin to use some new tools and most likely revert back to old habits and patterns and fall into the "insanity" mode of reading, "OK, this time I'll really "try"(failure-based word) and focus and see if it'll be different." Same methods; wishing for different results. One needs to do some work to unfreeze their self-defeating and sabotaging beliefs and images if one is to be open to and refreeze new supportive habits, images and patterns. So, begin to change your self-sabotaging images of who you are as a reader and see yourself as being able to remember and recall whatever you want every time you read.

เครื่องมือหรือเทคนิคทุกอย่าง อาจจะไม่ได้ผล ถ้าเรายังเชื่อว่าเราไม่สามารถประสบผลสำเร็จในการอ่าน บางคนเริ่มที่จะใช้วิธีใหม่ๆ แต่ก็มีทีท่าส่วนใหญ่ที่จะกลับไปสู่นิสัยแบบเดิมๆ สู่ความวิตกกังวลที่ว่า “เอาล่ะ ครั้งนี้เราจะพยายามจริงๆแล้ว จะตั้งใจ และลองดูถ้ามันมีการเปลี่ยนแปลง(คำว่าพยายามในที่นี้คือความล้มเหลว)” เป็นวิธีเดิม “ความต้องการ คาดหวังว่าตัวเองจะเปลี่ยนแปลง” บางคนอยากจะล้มเลิกความพ้ายแพ้ของตอนเองซะ ทำลายภาพความคิดในใจนั้นซะ มีกำลังใจในการพัฒนา เปิดรับเอานิสัยในแง่บวกให้ตัวเอง ดังนั้นควรเริ่มด้วยการเปลี่ยนแปลงตนเอง มองตนเองว่าเป็นนักอ่านที่สามารถจดจำสิ่งและ หวนนึกกลับสู่สิ่งที่เคยอ่านได้ทุกเวลาที่ต้องการ


2. A first tool is to outline the parts of the reading you wish to harvest later on. Whenever you do any outlining, either on the computer or by hand, always use color (but no black or blue. Whenever you outline, never" copy" text word-for-word from the text. Always change the text and put it into your own words, facilitating the planting process for later harvesting. While you're reading, if possible, play "soft" classical music.

เครื่องมือแรก คือการร่างสรุปความคร่าวๆ ในส่วนที่น้องๆต้องการกลับมาทนทวนภายหลัง เมื่อไหร่ก็ตามที่น้องสรุปออกมาคร่าวๆ ไม่ว่าจะใช้คอมพิวเตอร์ หรือ เขียนด้วยมือ ให้ใช้สีโปร่งๆ อย่าใช้สีเข้ม เช่นดำหรือน้ำเงิน และไม่ควรลอกเลียนคำที่ออกมาจากเนื้อหาต้นฉบับบนั้นๆ ควรเรียบเรียงให้เป็นสำนวนของตัวเองเพื่อที่จะได้เข้าใจง่ายเวลากลับมาทบทวนภายหลัง ถ้าเป็นได้ก็เปิดเพลงคลาสลิกเบาๆคลอไปด้วยก็ได้เพื่อเพิ่มอรรถรสในการอ่าน..

3. Then, using the outline information, you become the "instructor" and create test questions (open and closed) from the text. Folding a sheet of paper, vertically, the questions go on the outside and the responses go on the inside, always in color. Review the questions or ask someone to "quiz" you, as often as you can.

ใช้สรุปความเนื้อหาคร่าวๆ แล้วลองเป็นครูฝึกตนเอง คิดแบบทดสอบตั้งคำถามขึ้นมาเอง จากเนื้อหาในหนังสือ หรืออาจใช้ปากกาสีๆ หากระดาษมาเขียนคำถามและตำตอบ เป็นแดวนิ่ง อ่านแล้วเปิดแล้วปิดไว้ ทบทวนอีกทีด้วยการให้ผู้อื่นมาทดสอบถามเราให้มากที่สุด

4. Again, playing the "instructor" and supporting your "getting it," ask a few friends or colleagues if they have some time and the willingness to allow you to "instruct" them in this new material. One of the best ways to learn something is to teach it. So, teach it.

ทำอีกครั้ง ทำตัวเป็นครูผู้สอน เพื่อผักดันให้เราเข้าใจมันมากขึ้น ถามเพื่อนหรือใครก็ตามที่เขาพอจะมีเวลาอยากจะให้เราลองสอนเขา การสอนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดในการเรียนรู้เพราะเป็นสิ่งที่เรากระทำจากความเข้าใจของเราเอง ดังนั้นลองแล้วจะรู้

5. Hold the book, or document, in front of you just below eye level. No sitting and slouching and having the book down on or near your lap ...or lying on you desk...both of which can wreak havoc with the neck, sucking energy and tiring the body and adversely affecting the reading experience.

ไว้ด้านหน้าให้ต่ำกว่าระดับสายตา อย่านั่งหลังงอ หรือให้หนังสืออยู่ด้านล่างใกล้หน้าตัก หรือวางอยู่บนโต๊ะหนังสือ เพราะทั้งสองสิ่งนี้จะต้องใช้พลังงานมาก ทำให้เราเมื่อยคอและลำตัว เกิดผลเสียอย่างร้ายแรงต่อการอ่าน

6. In addition to meditation prior to reading which can be very effective, use lots of visualization. That is, become the director of your own movie and create a movie and animate it, seeing and feeling yourself in the animation. See, hear, and feel yourself "teaching," or in a discussion, or writing an article using the information as you reconstruct it from memory, and use every sense, and incorporate as many details and feelings as possible in your visualization. It's important to stay energized and alive during the reading.

นอกจากนั้นการมีสมาธิในการให้ความสำคัญเป็นลำดับแรกต่อสิ่งที่อ่าน ทำให้เกิดประสิทธิภาพมาก
การที่เรามองเห็นภาพเรากำลังแสดงหนัง รู้สึก เห็น และได้ยิน ถึงความมีชีวิตชีวา กับสิ่งที่เราอ่าน โดยนึกภาพตนเองกำลังสอน แลกเปลี่ยนความคิด หรือเขียนบทความโดยใช้ข้อมูลที่สร้างจากความทรงจำ และใช้ให้ครบทุกประสาทสัมผัส กับการมองภาพในใจนี้ รวบรวมเนื้อหาเข้าด้วยกันให้ได้มากที่สุด ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา ระหว่างการอ่าน


7. Periodically (every 15 minutes, every 30 minutes but at least every 45 minutes) stop reading and do some energy work. Do some yoga, Tai Chi, stretching, and breathing. When stretching and doing energy work, work with the lower half of the body to bring the energy down from the head where you've been for some time in order to balance the energy in your body. Cup your hands over your eyes (but NOT if you're wearing contact lenses) and with eyes open, move your eyes right to left, left to right, diagonally; or visualize a clock in the back of your head and randomly, quickly, "look at" different numbers on the clock. Or might hold your arm directly out in front of us and move your arm in an infinity sign going one way then the other, and then switching to the other arm (left brain-right brain balancing).

หยุดอ่าน เป็นระยะๆ ทุกๆ 15 นาที 30 นาที หรืออย่างน้อย 45 นาที แล้วออกกำลังกายเช่น โยคะ ไท้เก็ก ยืดเส้นยืดสาย หายใจลึกๆเวลาทำกิจกรรมนั้นๆ ใช้กำลังกับส่วนครึ่งล่างของร่างกายเพื่อนำเอาพลังงานจากส่วนบนลงไป ทำให้เกิดความสมดุลกับร่างกายทุกส่วน ใช้ฝามือทั้งสองปิดเปลือกตาซักพัก (แต่ไม่ควรทำถ้าน้องๆใส่คอนเทคเลนส์) ลืมตาแล้ว กลอกลูกตาไปมาจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย เฉียงไปมา นึกภาพนาฬิกาที่อยู่ข้างหลังศรีษะ มองผ่านๆตัวเลขที่หลากหลายบนหน้าปัด กอดอกแล้วบิดตัวไปมาด้านหนึ่งให้มากที่สุด จากนั้นเปลี่ยนแขนสลับอีกข้าง เพื่อดุลยภาพของสมองซีกซ้ายและขวา

8. Be aware of your breathing. When your breathing comes from your belly and abdomen, you are relaxed; when it comes from the throat and neck area, you're experiencing stress. So, do often do some deep breathing exercises to move to a relaxed state. Conscious and consistent use of these nine strategies over time can support you to be a more effective reader, not just in planting information, but also in recalling information as you need it. Happy reading!

มีสติอยู่กับลมหายใจของตนเอง เมื่อหายใจเข้าจากช่องท้อง เรารู้สึกผ่อนคลาย ถ้ามาจากบริเวณคอ เราจะประสบกับความเครียด ดังนั้นให้หายใจเข้าลึกๆ บ่อยๆจะช่วยผ่อนคลาย มีสติรับรู้ต่อเนื่องกในการใช้ 9 วิธีนี้ตลอดเวลา จะทำให้เรากลายเป็นนักอ่านที่ดีได้ ไม่ใช่เพียงแต่เรียนรู้วิธี แต่เราต้องนำมาฏิบัติด้วย มีความสุขกับการอ่านนะจ๊ะ!




Vocabulary

Recall (v) หวนคิดถึง , จำได้
Meditation (n) การทำสมาธิ
Instruct (vi) สั่งสอนให้ความร
Reconstruct (vt) สร้างใหม่ re- เป็น prefix แปลว่า กระทำสิ่งนั้นอีกครั้ง


ที่มา : http://www.engtest.net/?status=detail&&type=03-01&&topic_id=607


แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2011-09-25 22:14:56

BunnieZ
#2
25-09-2011 - 23:01:32

#2 BunnieZ  [ 25-09-2011 - 23:01:32 ]








อูยยยย...

สาระดีนะครับ แต่ถ้าตัดตอนเอาสาระใจความสำคัญที่เป็นภาษาไทยมาอย่างเดียวจะดีกว่านะ

เพราะใส่มาทั้งดุ้น แถมใส่สีแบบนี้ ตัวอักษรเล็ก คนเค้าก็ไม่อยากอ่านอ่ะครับ แม้ว่าเนื้อหาในนั้นจะดีแค่ไหนก็ตาม


ppim0241
#3
25-09-2011 - 23:26:22

#3 ppim0241  [ 25-09-2011 - 23:26:22 ]




ขอบคุณมากค่ะ


142954455
#4
26-09-2011 - 00:41:46

#4 142954455  [ 26-09-2011 - 00:41:46 ]






เราไม่ต้องยุ่งยากค่ะ
ไม่อ่าน!! ไปดูผลสอบแล้วผ่านด้วยนะค่ะ
อ่านแต่วันสอบที่ครูให้นั่งอ่าน (เพราะครูบังคับ)
ใช้วิธีนี้มาตั้งแต่ อ.1 แล้วค่ะ(อนุบาลมีสอบด้วยหรอ)


แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2011-09-26 00:43:03


Iмagination is more important †han kиowledge :D
pattisier
#5
26-09-2011 - 00:46:22

#5 pattisier  [ 26-09-2011 - 00:46:22 ]





ยอดไปเล้ยยย


The bloody
#6
26-09-2011 - 17:03:03

#6 The bloody  [ 26-09-2011 - 17:03:03 ]




สาระ ดี อย่างงี้ต้องกดlike(อ่าวไม่มีนี่หว่า) เราแป๊กป่าวนิ


  • 1

ลงข้อความได้เฉพาะสมาชิก
ต้องสมัครเป็นสมาชิกและ login เข้าสู่ระบบก่อนถึงจะสามารถลงความเห็นได้
เข้าสู่ระบบสมัครสมาชิก



ข้อมูลเมื่อ 13th November 2024 08:03

โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายส่วนบุคคนก่อนเริ่มใช้งาน [นโยบายส่วนบุคคล]
ยอมรับ